ราคาดังกล่าว ฟรี
1) เอกสารประกอบการสัมมนา (เข้าเล่ม)
2) ใบ Certificate
3) อาหารเบรก 2 มื้อ อาหารกลางวันโรงแรม รับกระเป๋า+สมุด+ปากกา หน้างาน
หลักการและเหตุผล
การส่งออกและนำเข้าสินค้าในปัจจุบันมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้นตามการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจของประเทศและของโลก ประกอบกับการค้าวิถีใหม่ NEW NORMAL เป็นการค้าในระบบอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีความสะดวก รวดเร็ว ผู้ปฏิบัติต้องมีความพร้อมในการประกอบธุรกิจอย่างชาญฉลาด ทันสมัย ตามการค้าของโลกที่เปลี่ยนไปเร็วมาก
สิ่งที่ผู้ประกอบการธุรกิจนำเข้า-ส่งออก, นักธุรกิจ, ผู้ผลิต, ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อต่างประเทศ, นายหน้าหรือตัวแทนการค้า, รวมทั้งพนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมดังกล่าวและผู้สนใจทั่วไป จำเป็นต้องศึกษาเรียนรู้ในเรื่องของการค้ายุคใหม่ที่นำเอาระบบ Logistics & Supply Chain มาบริหารจัดการให้ได้รับประโยชน์สูงสุดเพื่อให้การประกอบธุรกิจเป็นไปอย่างสะดวกและได้รับผลสำเร็จคุ้ม ค่ากับการลงทุน
หัวข้อการอบรม
วันที่ 1
เนื้อหาการอบรมมีดังนี้
การเตรียมความพร้อมในการดำเนินธุรกิจส่งออกและนำเข้าในระบบโลจิสติกส์ ภายใต้พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ.2560
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการนำเข้าตาม พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. 2560
ความรับผิดในการเสียค่าอากร การคำนวณค่าภาษีอากร
อายุความในการประเมินอากรหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit)
ความรู้ทางด้านการค้าระหว่างประเทศ (Import -Export Operations)
· สินค้าที่มีมาตรการนำเข้าและส่งออกตามพระราชบัญญัติ ฯ พ.ศ.2558
· สินค้าต้องห้าม-ต้องกำกัด
· สินค้าที่ห้ามนำผ่านและผ่านได้
· สินค้าที่ต้องมีมาตรฐาน
· e-Import : การผ่านพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการนำเข้า
· หลักเกณฑ์ด้านพิกัดอัตราศุลกากร (HS Code) พิกัดอัตราศุลกากรฮาร์โมไนซ์อาเซียน (AHTN)
· หลักเกณฑ์ด้านราคาศุลกากร Gatt Valuation ในการประเมินภาษีอากรในการนำเข้า
· หลักเกณฑ์การใช้สิทธิพิเศษทางภาษีอากรว่าด้วยการเปิดเสรีทางการค้า
การยกเว้นหรือลดอัตราอากรสำหรับเขตการค้าเสรี (FTA)
การตรวจสอบสิทธิก่อนและหลังการนำสินค้าเข้า
การรับรองแหล่งกำเนิดด้วยตนเอง (Self Certification)
e-Export: พิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าส่งออก
การยกเว้นอากรสำหรับของส่งออกแล้วจะนำกับเข้ามาในภายหลัง (สุทธินำกลับ)
การขอคืนอากรสำหรับสินค้าที่นำเข้ามาแล้วส่งกลับออกไป (Re-Export)
การคืนอากรสำหรับของที่นำเข้ามาผลิต ผสม ประกอบ บรรจุ หรือดำเนินการด้วยวิธีอื่นใด(มาตรา 29)
การใช้สิทธิประโยชน์ของคลังสินค้าทัณฑ์บน (Bonded Warehouse) เขตปลอดอากร (Free Zone) เขตประกอบการเสรี (I-EAT Free Zone)
การขอรับเงินชดเชยค่าภาษีอากรสำหรับสินค้าส่งออก (Tax Coupon)
ปัญหา ข้อควรระวัง และแนวทางในการแก้ไขข้อผิดพลาดการนำเข้า-ส่งออก
การรับรองป้องกันภัยจากการก่อการร้ายจากมาตรฐานเออีโอ (AEO) and (C-TPAT)
ดูเเลให้คำปรึกษาหลังอบรมฟรี สำหรับลูกค้าอบรม
วันที่ 2
1 .ความหมายของการประกอบธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ
ขั้นตอนในการติดตามการทำการค้า และการส่งสินค้าระหว่างประเทศ
วงจรการชำระเงิน และความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในการชำระเงินระหว่างประเทศ
เทคนิคในการพิจารณาผู้ซื้อ และผู้ขาย เพื่อไม่ให้เกิดความเสียเปรียบในการทำธุรกรรมการค้าระหว่างประเทศ
2. การเลือกใช้ข้อตกลงในการส่งสินค้าระหว่างประเทศ International Commercial Terms (Incoterms® 2020) ตามเกณฑ์ของ
สภาหอการค้านานาชาติ (International Chamber of Commerce)
Any Mode : EXW, FCA, CPT, CIP, DAP, DPU, DDP
Water Mode: FAS, FOB, CFR, CIF.
3. รู้จักความหมายของผู้จัดทำเอกสารการค้าระหว่างประเทศ และความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการทำเอกสารผิดพลาด
3.1 เอกสารทางการเงิน (Financial Document)
Draft or Bills of Exchange
Promissory Note (P/N)
3.2 เอกสารทางการขนส่ง (Transport Document)
Bills for Lading
Multimodal Transport Documents
Air Waybills
Railway Receipt
Truck Receipt
Courier Receipt
3.3 เอกสารการประกันภัย (Insurance Documents)
กรมธรรม์ประกันภัย (Insurance Policy)
ใบรับรองการประกันภัย (Insurance Certificate)
3.4 เอกสารทางการค้า (Commercial Document)
ใบกำกับสินค้า (Commercial Invoice)
ใบบรรจุหีบห่อสินค้า (Packing List)
ใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า (Certificate of Origin)
ใบวิเคราะห์สินค้า (Certificate of Analysis) ฯลฯ
กฎเกณฑ์ที่ควรเข้าใจก่อนการทำธุรกรรมการค้าระหว่างประเทศ
ข้อห้ามในการทำการค้าระหว่างประเทศกับประเทศที่มีความเสี่ยง (High Risks Countries) หรือประเทศต้องห้าม
สิ่งที่ควรทราบถึงกฎเกณฑ์ภาครัฐในการนำเข้า ส่งออกสินค้านอกเหนือจากกฎเกณฑ์ของกรมศุลกากร
กรณีศึกษาการพิจารณาข้อพิพาทที่เกิดขึ้นในการทำธุรกรรมการค้าระหว่างประเทศที่ผิดวิธี
รายละเอียดเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ
โทร 096-669-5554/064-325-49462
Line : 0966695554 /@dtntraining
dtntraining456@gmail.com
รายละเอียดการชำระเงิน
*โอนเข้าบัญชี ในนาม บริษัท ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จำกัด
* บัญชีออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 206-237-174-0
กรณีชำระเงินแล้ว กรุณา Scan หรือถ่ายรูป สลิป Pay in มาที่ Line : jiwtraining หรือ mail : dtntraining456@gmail.com
การหัก ณ ที่จ่าย (1% หรือ 3%)
ในนาม บริษัท ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จำกัด (สนญ.)
เลขที่ผู้เสียภาษี 010 5555 113 021
เลขที่ 171/162 ซอยพุทธบูชา 39 แยก 1-1 แขวงบางมด เขตทุ่งครุ
กรุงเทพมหานคร 10140
ที่อยู่ภาษาอังกฤษ
Promotion and Development of Human Resources Center Co.,ltd. (Head Office)
171/162 Soi Phutthabucha 39 Yak 1-1 , Bangmod, Thung Khru,
Bangkok 10140
Tax. 010 5555 113 021